กระบวนการสร้างเอกสาร Requests for Quotation (RFQ)
การสร้างเอกสาร Requests for Quotation (RFQ)
เมื่อคำขอจัดซื้อ (Purchase Request) ได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าแผนกของผู้ขอซื้อแล้ว พนักงานฝ่ายจัดซื้อสามารถสร้างเอกสาร Request for Quotations (RfQ) ได้ตามวิธีด้านล่าง
Menu: Purchase > Orders > Purchase Requests
-
ในหน้ารายการขอซื้อ (PR) ระบบจะกรองเอกสารที่ผู้ใช้งานทำการขอซื้อขึ้นมาแสดงให้ก่อน ต้องกดกากบาทลบตัวกรอง (filter) ทั้งหมดออกเพื่อให้ระบบแสดงรายการเอกสารขอซื้อ (PR)ของผู้ใช้งานรายอื่น
-
เลือกตัวกรอง Approved เพื่อค้นหารายการ Purchase Request (PR) ที่ได้รับการอนุมัติแล้ว และเลือก Not RFQ เพื่อค้นหาเอกสารที่ยังไม่ได้สร้าง RFQ
-
ค้นหารายการ Purchase Request (PR) ด้วยเลขที่เอกสาร PR และเลือก Search Purchase Request for:
-
กดบรรทัดรายการ เพื่อเปิดเอกสารใบ PR
-
กดปุ่ม Create RFQ เพื่อสร้างเอกสาร RFQ
-
ระบบแสดงหน้าต่างเพื่อให้เลือก Vendor ที่ต้องการจัดซื้อ และตรวจสอบข้อมูล
- (1) Supplier: เลือก Vendor ที่ต้องการการจัดซื้อ
- (2) ตรวจสอบ Product และ Quantity ที่จะทำการจัดซื้อ
- (3)ใส่เครื่องหมายถูกตรง Copy descriptions to new PO
- (4) กดปุ่ม Create RFQ เพื่อยืนยันการสร้างเอกสาร
-
ระบบสร้างเอกสาร RFQ ขึ้นมา กดที่รายการเพื่อเปิดเอกสาร
-
กดปุ่ม Edit เพื่อแก้ไขข้อมูล
-
แก้ไขข้อมูลรายละเอียดและราคาซื้อที่ได้ตกลงกัน Supplier และตรวจสอบความถูกต้อง
ส่วน Header
- (1) Vendor: ชื่อ Vendor ที่ต้องการจัดซื้อ
- (2) Type: เลือกประเภทของ Purchase Order
- Other = ทั่วไป (ผ่าน flow RfQ และ WAMS Approve flow)
- Land = เกี่ยวกับที่ดินจะไปออกเอกสาร POL (Skip flow RfQ และ Skip WAMS Approve flow)
- Contract (WAMS) = มีการแนบ Contract และจะไปออกเอกสาร POC (ผ่าน flow RfQ และ WAMS Approve flow)
- Contract (Skip WAMS) = มีการแนบ Contract จะไปออกเอกสาร POC (ผ่าน flow RfQ และ Skip WAMS Approve flow)
- (3) Purchase Request: ระบบจะอ้างอิงเลขที่เอกสาร Purchase Request
- (4) Order: ระบบจะอ้างอิงเลขที่เอกสาร Purchase Order
- (5) Vendor Reference: สำหรับใส่เลขที่อ้างอิงเอกสารของ Vendor
- (6) Currency: กรณีเป็นการจัดซื้อจากต่างประเทศ สามารถเปลี่ยน Currency เป็นสกุลเงินที่ต้องการ
- (7) Order Deadline: วันที่การจัดซื้อ
- (8) Receipt Date: วันที่ส่งมอบสินค้า/บริการที่ตกลงกับ Vendor
- (9) Deliver To: คลังสินค้าหรือสถานที่ที่ต้องการให้ Vendor จัดส่งสินค้ามาให้
- (10) Branch: เลือกสาขาที่ต้องการออกที่อยู่บนฟอร์ม PO
ส่วน tab Product
-
(1) Product: สินค้าที่ขอจัดซื้อ
Info
ถ้าต้องการเพิ่มส่วนลดท้ายบิล เลือก Add a product ที่ชื่อว่า Discount แล้วกรอก analytic tags และ analytic account เหมือนเป็น product ตัวนึง แต่ใส่ unit price เป็นยอดติดลบ
-
(2) Description: คำอธิบายรายการ
- (3) Analytic Account: เลือก Financial Dimension ของ product
- Project
- (4) Analytic Tags: เลือก Financial Dimension ของ product
- กด drop down 1 ครั้ง เลือก product line
- กด drop down อีกครั้ง เลือก BOI
- (5) Quantity: จำนวน
- (6) UoM: หน่วยนับสินค้า
- (7) Unit Price: ราคาต่อหน่วย
- (8) Taxes: ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี)
- (9) Sub Total: ราคารวมสินค้า (ไม่รวมภาษี)
- (10) Total: ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
Note
- (1) สามารถกดปุ่ม Add a section เพื่อใส่ข้อความแนบท้ายเอกสาร RFQ ได้ เพื่อไปออกช้อมูลบนฟอร์ม
- (2) สามารถกรอกข้อมูล Term and Conditions ในช่องได้ โดยจะไปออกข้อมูลบนฟอร์ม (ต้องกดปุ่ม edit เอกสาร RFQ ก่อนถึงจะเห็นช่องนี้แสดงขึ้นมาให้กรอก)
- (3) สามารถกรอกข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Add a note แต่ระบบจะไม่ดึงข้อมูลไปออกบนฟอร์ม
ส่วน tab Other Information
- (1) Purchase Representative: เลือกพนักงานผู้ทำการจัดซื้อ ระบบจะ default เป็น user ที่ login
- (2) Vice President Approver: ระบบจะใส่ชื่อ VP ที่กด approve เอกสาร RFQ
- (3) Manager Approver: ระบบจะใส่ชื่อ Purchase Manager ที่กด approve เอกสาร RFQ
- (4) Source Document: ใส่หมายเลขเอกสารอ้างอิง
- (5) Incoterm: เลือกเงื่อนไขในการส่งมอบสินค้า
- (6) Payment Terms: เลือกเงื่อนไขการชำระเงิน ระบบจะดึง default มาจากข้อมูล Vendor
- (7) Fiscal Position: ใช้สำหรับเปลี่ยนเลขที่บัญชีหรือภาษีที่ต้องการบันทึกเป็นเลขที่บัญชีหรือภาษีอื่นที่ไม่ได้ผูกไว้กับ Product (ถ้ามีการตั้งค่าเอาไว้)
ส่วน tab WAMS Information
- (1) WAMS Number: ระบบจะดึงเลขที่ WAMs มาใส่
- (2) WAMs Comment: ระบบจะดึงคอมเม้นจากใน WAMs มาใส่ (ถ้ามี)
- (3) API Date: ระบบจะแสดงวันที่ส่งข้อมูลไปยัง API เพื่อรอเข้า WAMs
- (4) Vice President Comment: สำหรับให้ VP กรอกคอมเม้นตอน approve และระบบจะดึงคอมเม้นที่ VP กรอกตอน Reject มาใส่
- (5) Purchase Manager Comment: สำหรับให้ Purchase Manager กรอกคอมเม้นตอน approve และระบบจะดึงคอมเม้นที่ Purchase Manager กรอกตอน Reject มาใส่
- (6) Purchase Staff Comment: สำหรับให้ Purchase Staff ใส่คอมเม้น เช่น แก้ไขข้อมูลส่วนไหนไปบ้าง
-
สามารถแนบเอกสารประกอบการพิจารณาได้ที่รูปไอคอน paper clip ด้านล่างของเอกสาร
- กดที่ไอคอน หลังจากนั้นกดปุ่ม Add attachments และเลือกไฟล์จากในเครื่องคอมพิวเตอร์ (ถ้าไม่มีการแนบเอกสารสามารถข้ามขั้นตอนนี้)
-
เมื่อแก้ไขและตรวจสอบข้อมูลเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม Save เพื่อบันทึกข้อมูลและตรวจทานอีกครั้ง
- ถ้าไม่ถูกต้อง ต้องการแก้ไข ให้กดปุ่ม Edit แก้ไขให้ถูกต้อง และกดปุ่ม Save
- ถ้าถูกต้องให้ดำเนินการขั้นตอนต่อไป
การแสดงผลบนฟอร์ม RFQ/PO
-
เมื่อทำการกรอกข้อมูลเข้าไปในหน้าเอกสารบน Odoo ระบบจะดึงข้อมูลจากแต่ละ field ไปออกบนฟอร์มเอกสารตามด้านล่าง
- (1) ส่วนนี้จะดึงข้อมูลจาก field PR Number, Incoterms, Terms and Conditions และ Vendor Reference
- (2) เป็นข้อมูลที่ Fixed Wording เอาไว้ 3 บรรทัด
- (3) ส่วนนี้จะดึงข้อมูลมาจาก field WAMS Number No.; source document; operationg unit; add a section
การส่งเอกสาร RFQ ให้ vendor ทาง email
-
กดปุ่ม Send By Email เพื่อส่งข้อมูลใบเสนอราคาให้ Vendor สถานะเอกสารเปลี่ยนจาก RFQ เป็น RFQ Sent
- (1) สามารถใส่อีเมลคู่ค้าในช่องนี้ได้กรณีที่ไม่มีข้อมูล email ของ vendor ใน master data รวมถึงสามารถเพิ่ม email ที่ต้องการให้ส่งถึงได้
- (2) สามารถแก้ไขเนื้อหาอีเมลที่ต้องการส่งให้ vendor ได้ เช่น email ที่ต้องการให้ทาง vendor ตอบกลับ
- (3) ถ้าต้องการแนบไฟล์เพิ่มเติมนอกจากใบเสนอราคาสามารถกด Attach a file ได้
- (4) หลังจากตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้วกดปุ่ม send เพื่อส่ง
- หากมีการแก้ไขข้อมูลเอกสาร RFQ หลังจากส่งให้ Vendor ไปแล้ว สามารถส่งเอกสารฉบับแก้ไขไปให้ vendor ทางอีเมลอีกครั้งได้ โดยการกดปุ่ม Re-Send by Email
- ระบบจะเก็บ Log history การส่งอีเมลเอาไว้ที่ด้านล่างเอกสาร
Status of Sent email
- ถ้าเกิดปัญหาในการส่ง email ระบบจะแสดง icon สีแดง
การส่งเอกสาร RFQ ให้ผู้อนุมัติ
-
เมื่อฝ่ายจัดซื้อตัดสินใจเลือก Vendor รายที่ต้องการจัดซื้อและตกลงเรื่องราคากับ Vendor ได้แล้ว ก็ทำส่งไปให้ Purchase Manager พิจารณาอนุมัติโดยการกดปุ่ม Submit to Manager
sub-state ของเอกสารจะเปลี่ยนจาก Draft เป็น Purchase Manager
-
เมื่อหัวหน้าฝ่ายจัดซื้่อ (Purchase Manager) พิจารณาอนุมัติแล้ว sub-state ของเอกสารจะเปลี่ยนเป็น Vice President
-
เมื่อ Vice President ของแผนกจัดซื้อพิจารณาอนุมัติแล้ว ถ้าเอกสาร RFQ ทุกใบที่สร้างผ่านการอนุมัติทั้งหัวหน้าแผนกจัดซื้อ (Purchase Manager) และ Vice President ของแผนกจัดซื้อ
- ระบบจะตรวจสอบว่า Quantity ที่อยู่ในเอกสาร PR และ Quantity ในเอกสาร RFQ เท่ากันหรือไม่
- ถ้าตรวจสอบแล้วพบว่าเท่ากัน ระบบจะส่งข้อมูล API จาก Odoo ไปที่ระบบ WAMS โดยอัตโนมัติและ sub-state ของเอกสารจะอยู่ที่ Waiting WAMS
- แต่ถ้าระบบตรวจสอบแล้วพบว่า Quantity ในเอกสาร RFQ และ PR ยังไม่เท่ากัน
- เช่น กรณีที่เปิด PR ว่าต้องการสั่งของ 10 ชิ้น สร้าง RFQ 2 ใบ สั่งของใบละ 5 ชิ้น
- RFQ ใบแรกผ่านการอนุมัติแล้วแต่อีกใบยังไมได้รับการอนุมัติ เอกสาร RFQ ใบแรกจะอยู่ในสถานะ Ready to WAMS
- และเมื่อ RFQ ใบที่สองได้รับการอนุมัติ ระบบจะ API ส่งข้อมูลของ RFQ ทั้ง 2 ใบไปที่ระบบ WAMs โดยอัตโนมัติ และ sub-state ของ RFQ ทั้ง 2 ใบ จะเป็น Waiting WAMS
-
เมื่อผู้ที่มีอำนาจอนุมัติใน WAMS ทำการอนุมัติและระบบ WAMS ส่ง API กลับมาที่ระบบ Odoo เอกสารจะเปลี่ยนสถานะเป็น Purchase Order ที่อยู่ใน state Lock ให้โดยอัตโนมัติ และเลขที่เอกสารจะเปลี่ยนจาก RFQ เป็น PO
การตรวจสอบเอกสาร RFQ
Menu: Purchase > Orders > Request for Quotations
-
สามารถใช้ function Search เพื่อค้นหาเอกสาร RFQ ที่ต้องการดูได้
-
สามารถ filter ให้ระบบแสดงเฉพาะข้อมูลที่ต้องการได้ตามด้านล่าง
- (1) RFQ Equal PR: ให้แสดงฉพาะรายการที่เปิด RFQ ครบตามจำนวน PR แล้ว
- (2) Sub-state: ให้แสดงฉพาะ sub-state ของ RFQ ที่ต้องการ
-
สามารถ group by ให้ระบบจัดกลุ่มการแสดงผลข้อมูลตามที่ต้องการ เช่น
- (1) Purchase Request: จัดกลุ่มให้แสดงข้อมูลแยกตามเอกสาร PR
- (2) Vendor: จัดกลุ่มให้แสดงข้อมูลตามแต่ละ vendor ที่สั่งซื้อ
- (3) Type: จัดกลุ่มให้แสดงข้อมูลตามแต่ละ vendor ที่สั่งซื้อ
- (4) Operating Unit: จัดกลุ่มให้แสดงข้อมูลตามแต่ละ cost center
End.